
ให้ สมุนไพร Herbraga ดูแลคุณ
จากอาการ ไมเกรน เบาหวาน ความดัน ภูมิแพ้ ปวดเมื่อย ดีขึ้น
สวยใส ไร้สิว ด้วยฟักข้าว
ผลิตภัณฑ์ทำความสะอาดจากฟักข้าว ช่วยฆ่าแบตทีเรียที่เป็นสาเหตุของการเกิดสิว เผยผิวกระจ่างใส กระชับรูขุมขน
This is default featured slide 3 title
Go to Blogger edit html and find these sentences.Now replace these sentences with your own descriptions.This theme is Bloggerized by Lasantha Bandara - Premiumbloggertemplates.com.
This is default featured slide 4 title
Go to Blogger edit html and find these sentences.Now replace these sentences with your own descriptions.This theme is Bloggerized by Lasantha Bandara - Premiumbloggertemplates.com.
This is default featured slide 5 title
Go to Blogger edit html and find these sentences.Now replace these sentences with your own descriptions.This theme is Bloggerized by Lasantha Bandara - Premiumbloggertemplates.com.
วันจันทร์ที่ 5 พฤศจิกายน พ.ศ. 2561
สาเหตุของโรคอ้วน (Obesity)

สาเหตุของโรคอ้วนคนเรารับประทานอาหารเข้าไปไม่ว่าจะเป็นประเภทแป้ง หรือโปรตีนหากพลังงานที่ได้รับเกินความต้องก...
วันจันทร์ที่ 29 ตุลาคม พ.ศ. 2561
สังกะสี (zinc) แร่ธาตุนี้มีประโยชน์อย่างไร ผลกระทบเมื่อทานมาก-น้อยเกินไป

สังกะสี หรือ Zinc เป็นธาตุอาหารชนิดหนึ่งที่มีความสำคัญต่อระบบการทำงานของร่างกาย ไม่ว่าจะเป็นมนุษย์ สัตว์หรือพืช ด้วยบทบาทที่เรียกได้ว่าเป็นหัวใจในการทำงานร่วมกับเอนไซม์ต่า...
วันศุกร์ที่ 5 ตุลาคม พ.ศ. 2561
สะเก็ดเงินที่ศีรษะ หัว ผม รักษาอย่างไรดี ? (Psoriasis)

สะเก็ดเงินบนศีรษะพบได้บ่อยอย่างน้อย 50% ของคนไข้สะเก็ดเงินจะมีอาการที่ศีรษะ เช่นเดียวกับอาการสะเก็ดเงินตามผิวหนังบริเวณอื่นๆ สะเก็ดเงินบนศีรษะมีได้ตั้งแต่อาการน้อยจนกระทั่งเป็นม...
วันเสาร์ที่ 29 กันยายน พ.ศ. 2561
รู้หรือไม่ ฟอสฟอรัส (Phosphorus) สำคัญอย่างไร?

ฟอสฟอรัส (Phosphorus) พบได้ในทุกเซลล์ของร่างกาย วิตามินดี และแคลเซียมมีส่วนสำคัญต่อการทำงานของฟอสฟอร...
วันจันทร์ที่ 27 สิงหาคม พ.ศ. 2561
รู้จักเบาหวาน

โรคเบาหวานคืออะไร: โรคเบาหวานคือโรคที่เซลร่างกายมีความผิดปรกติในขบวนการเปลี่ยนน้ำตาลในเลือดให้เป็นพลังงาน เมื่อน้ำตาลไม่ได้ถูกใช้จึงทำให้ระดับน้ำตาลในเลือดสูงขึ้นกว่าระดับผิดปรก...
วันเสาร์ที่ 11 สิงหาคม พ.ศ. 2561
รู้เท่าทัน “โรคกระดูกพรุน” ภัยเงียบที่อันตรายกว่าที่คิด (Osteoporosis)

โรคกระดูกพรุนอาจเกิดจากการขาดแคลเซียม ดังนั้น เมื่อเราเรียนรู้จากในตำรามาตั้งแต่เป็นเด็กว่าแคลเซียมดีต่อกระดูก และช่วยป้องกันไม่ให้เกิดโรคกระดูกพรุนในยามที่แก่ตัว...
วันอาทิตย์ที่ 5 สิงหาคม พ.ศ. 2561
ระวังอันตรายที่มากับ โรคภูมิแพ้จมูก หรือ โรคภูมิแพ้อากาศ (Allergic Rhinitis)

ฮัดเช้ย!! จามบ่อยๆ ติดต่อกัน อีกทั้งมีอาการคัดจมูกร่วมด้วย ระวังโรคภูมิแพ้จมูกถามหา โดยเฉพาะในช่วง ปลายฝนต้นหนาวมักจะมีอาการกำเริบมากขึ้...
วันจันทร์ที่ 30 กรกฎาคม พ.ศ. 2561
มารู้จัก ไขมัน LDL กันเถอะ

ขอบคุณภาพจาก internet
วันนี้เราจะพามารู้จักคลอเรสเตอรอลชนิดไม่ดี(ไขมันเลว)
หรือ LDL(Low Density
Lipoprotein) กัน โคเลสเตอรอลในร่างกาย ประกอบขึ้นจากไขมันหลายชน...
วันศุกร์ที่ 20 กรกฎาคม พ.ศ. 2561
ภูมิแพ้ผิวหนังในผู้ใหญ่

โรคภูมิแพ้ผิวหนังเป็นโรคที่เกิดโดยไม่ทราบสาเหตุแต่มีความเกี่ยวข้องกับพันธุกรรม โดยปัจุบันพบได้บ่อยขึ้นเรื่อยๆ มีตั้งแต่เป็นมากสร้างความลำบากและทรมานให้กับชีวิต มีหลายระดับตั้งแต่อาการการคัน และผื่นรุนแรง หรือที่เป็นน้อยจนไม่รู้เลยว่าตัวเองเป็นภูมิแพ้ผิวหนังก็...
วันพฤหัสบดีที่ 19 กรกฎาคม พ.ศ. 2561
ภูมิแพ้ขึ้นตา (เยื่อบุตาอักเสบ) สาเหตุ อาการ และการดูแลรักษา

โรคภูมิแพ้ คือ อาการที่ร่างกายไวต่อสารก่อภูมิแพ้ ทำให้เกิดอาการต่างๆ ขึ้นตามอวัยวะที่เกิดแพ้ หากเกิดขึ้นที่ดวงตา เราก็จะเรียกว...
วันพุธที่ 18 กรกฎาคม พ.ศ. 2561
ภูมิแพ้ อันตรายกว่าที่คิด (Allergy)

โรคภูมิแพ้ (Allergy) เป็นโรคที่ผู้ป่วยมีอาการแพ้ ไอ จาม คัดจมูก น้ำมูก น้ำตาไหล คันรอบดวงตา ระคายเคืองทั่วใบหน้า มีผดผื่นคันแดงตามผิวหนัง ผิวหนังลอกอักเ...
วันอังคารที่ 17 กรกฎาคม พ.ศ. 2561
ภาวะปกติ ภาวะเป็นโรค ภาวะที่ร่างการขาดโซเดียม (sodium)

ในภาวะปกติรางกายจะรักษาความสมดุลของการครองธาตุโซเดียม เช่น เมื่อร่างกายได้รับโซเดียมมากเกินความต้องการ ร่างกายจะขับออกทาง...
วันจันทร์ที่ 16 กรกฎาคม พ.ศ. 2561
ภาวะกระดูกพรุน (Osteoporosis)

ปัญหาอย่างหนึ่งสำหรับผู้หญิงวัยหมดประจำเดือน คือ ภาวะกระดูกบาง หรือเมื่อเป็นมากขึ้นจะเรียกว่า กระดูกพรุน ซึ่งจะเกิดมากเมื่อเพศหญิงขาดฮอร์โมนจำเป...
วันอาทิตย์ที่ 15 กรกฎาคม พ.ศ. 2561
ภาวะเกลือโซเดียมต่ำ Hyponatremia

โซเดียมจะจับกับคลอไรด์ในเลือด ค่าปกติจะอยู่ระหว่าง 135-145 mEq/L โซเดียมเป็นแร่ที่สำคัญของร่างกาย ทำงานร่วมกับคลอไรด์ในการรักษาสมดุลของน้ำในร่างก...
วันเสาร์ที่ 14 กรกฎาคม พ.ศ. 2561
แร่ธาตุฟอสฟอรัส (Phosphorus) คืออะไร?

ฟอสฟอรัส คือ แร่ธาตุอีกชนิดหนึ่งที่พบมากเป็นอันดับสองของร่างกายเลยทีเดียว โดยส่วนมากจะพบในกระดูกในรูปของเกลืออนินทรีย์ประมาณร้อย...
ฟอสฟอรัส (Phosphorus) คืออะไรและมีความสำคัญอย่างไร

ฟอสฟอรัส (Phosphorus) ถ้าพูดถึงฟอสฟอรัสเราก็จะนึกเห็นภาพของแคลเซียมขึ้นมาทันที เพราะเรามักจะได้ยินติดหูคุ้นชินว่าแคลเซียมนั้นคู่กันกับฟอสฟอรัสเส...
วันจันทร์ที่ 9 กรกฎาคม พ.ศ. 2561
ผลกระทบของโรคสะเก็ดเงินที่มีต่อผู้ป่วยในด้านต่างๆ

ผลกระทบของโรคสะเก็ดเงินที่มีต่อผู้ป่วยในด้านต่างๆ
โรคสะเก็ดเงินมีผลกระทบต่อสุขภาพกาย รวมถึงสภาพจิตใจ ทั้งของผู้ป่วยและครอบครัว ตลอดจนผลกระทบทางด้านสังคม เศรษฐกิจ และคุณภาพชีวิต ในมิติต่างๆ ดังต่อไปน...
วันพุธที่ 4 กรกฎาคม พ.ศ. 2561
ประโยชน์ของทองแดง หรือ copper

มีความสำคัญต่อเมแทบอลิซึมของธาตุเหล็ก โดยที่ทองแดงในพลาสมาที่อยู่ในรูปของ เซรูโรพลาสมิน (Ceruloplasmin) จะเปลี่ยนเหล็กจ...
วันอาทิตย์ที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2561
ประโยชน์ของโพแทสเซียม (Potassium)

โพแทสเซียมและอิเล็กโตรไลต์ชนิดอื่นๆ ช่วยในการนำกระแสประสาท ทำให้กล้ามเนื้อหดตัว ช่วยควบคุมการเต้นของหัวใจและความดันเลื...
วันศุกร์ที่ 8 มิถุนายน พ.ศ. 2561
ธาตุโซเดียม (sodium) เกลือแร่ที่จำเป็นต่อร่างกาย

โซเดียม เป็นแร่ธาตุที่พบได้ทั้งในสิ่งแวดล้อมและสิ่งมีชีวิต ซึ่งมีความสำคัญต่อชีวิตประจำวันในหลายแง่มุม และเป็นสารอาหารประเภทเกลือแร่ที่มีความจำเป็นต่อร่างก...
วันเสาร์ที่ 26 พฤษภาคม พ.ศ. 2561
ธาตุเหล็ก คืออะไรและมีความสำคัญอย่างไร?

ธาตุเหล็ก (iron) เป็นธาติอาหารที่มีความสำคัญและมีความจำเป็นที่สุดชนิดหนึ่งต่อร่างกายของคนเราในทุกเพศ ทุกวัย โดยเฉพาะวัยที่อยู่ในช่วงการเจริญเติบโตส...
วันอังคารที่ 22 พฤษภาคม พ.ศ. 2561
ทองแดง (Copper) ประโยชน์ของธาตุทองแดง

ทองแดง (Copper) มีคุณสมบัติช่วยเปลี่ยนธาตุเหล็กให้เป็นเฮโมโกลบิน หลังจากรับประทานจะถูกดูดซึมเขาสู่กระแสเลือดภายใน 5 นาที โดยช่วยทำให้ร่างกายใช้กรดอะมิโนไทโรซินได้ โดยไทโรซินคือส่วนหนึ่งของการสร้างเม็ดสีที่เส้นผมและผิวหนัง และมีความจำเป็นต้องใช้เป็นตัวประกอบในการนำวิตามินซีไปใช้ง...
วันอาทิตย์ที่ 20 พฤษภาคม พ.ศ. 2561
คุณค่าจาก “แคลเซียม” แร่ธาตุสำคัญ ที่ผู้หญิงไม่ควรมองข้าม Calcium

แคลเซียม (Ca) เป็นสารอาหารสำคัญอย่างหนึ่งที่ร่างกายต้องการ ซึ่งมีความจำเป็นอย่างมาก ต่อการเสริมสร้างกระดูกและฟัน หรือจะเรียกได้ว...
วันจันทร์ที่ 14 พฤษภาคม พ.ศ. 2561
คอเลสเตอรอล (Cholesterol) เกี่ยวอะไรกับสุขภาพ

หลายคนอาจจะคุ้นหูกันดีว่า “คอเลสเตอรอลสูง” นั้นไม่เป็นผลดีต่อสุขภาพของเราเท่าไหร่ แต่หลายคนอาจจะยังไม่เข้าใจว่าคอเลสเตอรอลนั้นคืออะไร ทำไมถึงมีอิทธิพลต่อสุขภาพของเราอย่างเหลือร้าย วันนี้เราจะมาอธิบายว่า “คอเลสเตอรอลสูง” ที่หลายๆคนได้ยินมาคืออะไร รวมถึงวิธีการดูแลสุขภาพให้ห่างไกลจากภาวะคอลเลสตอรอลสูงมาฝ...
วันเสาร์ที่ 12 พฤษภาคม พ.ศ. 2561
ความดันโลหิตตกเมื่อลุกยืน

ภาวะ/โรคความดันโลหิตต่ำเมื่อลุกยืน หรือความดันโลหิตตกเมื่อลุกยืน หรือความดันตกในท่ายืน (Orthostatic hypotension หรือ Postural hypotensio...
วันพฤหัสบดีที่ 10 พฤษภาคม พ.ศ. 2561
โรคความดันโลหิตต่ำ คืออะไร สาเหตุ อาการ วิธีรักษา และวิธีป้องกันโรคความดันโลหิตต่ำ

สำหรับโรคความดันโลหิตต่ำนั้นโดยทั่วไปผู้คนส่วนใหญ่มองข้าม เพราะจะให้ความสำคัญกับโรคความดันโลหิตสูงมากกว...
วันพุธที่ 9 พฤษภาคม พ.ศ. 2561
กินอะไร เลี่ยงอะไร ในโรคข้ออักเสบรูมาตอยด์ (rheumatoid)

โรคข้ออักเสบรูมาตอยด์ (Rheumatoid arthritis)เป็นความผิดปกติเรื้อรัง ซึ่งระบบภูมิคุ้มกันรุกรานเนื้อเยื่อในร่างกายหลายแห่งโดยเฉพาะส่วนข้อ ทำให้เกิดการอักเสบและทำให้ข้อเสื่...
วันอังคารที่ 8 พฤษภาคม พ.ศ. 2561
การดูดซึมและการเก็บฟอสฟอรัส, แหล่งที่พบฟอสฟอรัส

ฟอสฟอรัสสามารถถูกดูดซึมได้ดีบริเวณลำไส้เล็กตอนกลางและตอนปลาย ซึ่งจะถูกดูดซึมในรูปของฟอสเฟตอิสระได้ดีกว่าในรูปอื่นๆ ส่วนการจัดเก็บฟอสฟอรัสไว้ในร่างกายนั...
วันเสาร์ที่ 5 พฤษภาคม พ.ศ. 2561
กรดยูริคสูงเชื่อมโยงกับโรคเก๊าต์และโรคเบาหวาน (Uric acid)

กรดยูริค (Uric acid) เป็นสารเคมีที่อาจสะสมในเลือดจนสูงกว่าระดับปรกติ และจะนำไปสู่โรคเก๊าต์ได้ เมื่อเร็วๆ นี้ นายแพทย์ Eric Matteson หัวหน้าหน่วย รูมาติกวิทยา แห่ง Mayo gdkClinic ในเมือง Rochester รัฐมินนิโซตา กล่าวว่า “ผู้คนจำนวนมากไม่ได้ควบคุมระดับกรด ยูริค และไม่เคยกังวลและไม่สนใจเกี่ยวกับเรื่องนี้ ตราบใดที่เขาไม่มีอาการ...
วันเสาร์ที่ 28 เมษายน พ.ศ. 2561
ไมเกรน (Migraines)

ไมเกรนเป็นโรคที่ทำให้เกิดอาการปวดศีรษะรุนแรงชนิดหนึ่ง จะรู้สึกปวดตุบ ๆ รุนแรง โดยมักปวดบริเวณศีรษะข้างเดียว หรือปวดข้างเดียวก่อนแล้วจึงปวดสองข้าง ในขณะที่ปวดก็มักมีอาการคลื่นไส้หรืออาเจียนร่วมด้วย และอาจมีความรู้สึกไวต่อเสียงและแสงสว่างมากกว่าปก...
วันพฤหัสบดีที่ 26 เมษายน พ.ศ. 2561
ไทรอยด์: โรคของต่อมไทรอยด์ (Thyroid: thyroid diseases)

ไทรอยด์ (Thyroid gland) เป็นอวัยวะหนึ่งในระบบต่อมไร้ท่อตั้งอยู่ด้านหน้าของลำคอใน ส่วนหน้าต่อลูกกระเดือกหรือกระดูกอ่อนไทรอยด์ (Thyroid cartilage) มีรูปร่างคล้ายผีเสื้อ ประ กอบด้วย 2 กลีบใหญ่คือ กลีบด้านซ้ายและกลีบด้านขวา ซึ่งทั้งสองกลีบเชื่อมต่อถึงกันได้ด้วยเนื้อเยื่อบางๆที่เรียกว...
เปิดรับตัวแทนจำหน่าย อาหารเสริม (Herbraga) ช่วยในเรื่องเบาหวาน ความดัน

เปิดรับตัวแทนจำหน่าย อาหารเสริม (Herbraga) ช่วยในเรื่องเบาหวาน ความดัน เป็นสมุนไพรไทย-จีน สนใจติดต่อมาได้เ...
วันพุธที่ 25 เมษายน พ.ศ. 2561
ไขมันพอกตับ ภัยเงียบที่มาพร้อมความอ้วน

โลกยุคดิจิตอลไม่ได้มีการเปลี่ยนแปลงเฉพาะแค่เรื่องเทคโนโลยีเท่านั้น แต่การเกิด “โรค” ต่างๆก็ดูเหมือนจะมีวิวัฒนาการไปตามการเปลี่ยนแปลงของโลกด้...
วันอาทิตย์ที่ 22 เมษายน พ.ศ. 2561
ไขมันในหลอดเลือด 1 ภาวะเสี่ยงความดันโลหิตสูง

ไขมันในเลือดสูง แม้ผอมหุ่นเพียว.. ทำไม??
คงมีหลายคนที่รูปร่างสวยเพรียว หรือผอม แต่เมื่อตรวจร่างกายพบว่ามีไขมันในเลือดสูง ทำให้สงสัยว่า ตรวจผิดหรือเปล่า? มันไม่น่าเป็นเช่นนี้ ผู้เขียนอยากเรียนว่า คนที่รูปร่างสวยเพียว หรือผอม ก็มีไขมันในเลือดสูงได้... ทำไมถึงเป็นเช่นนั้น...
วันเสาร์ที่ 21 เมษายน พ.ศ. 2561
ใครมีปัจจัยเสี่ยง/โอกาสที่จะเป็นโรคอัมพาตเหตุโพแทสเซียมต่ำ?

ใครมีปัจจัยเสี่ยง/โอกาสที่จะเป็นโรคอัมพาตเหตุโพแทสเซียมต่ำ?
-ผู้มีปัจจัยเสี่ยง/โอกาสเป็นโรคนี้ ค...
วันศุกร์ที่ 20 เมษายน พ.ศ. 2561
โรคอัมพาตเหตุโพแทสเซียมต่ำมีภาวะแทรกซ้อนหรือไม่?

โรคอัมพาตเหตุโพแทสเซียมต่ำมีภาวะแทรกซ้อนหรือไม่?
-กรณีที่ระดับโพแทสเซียมในเลือดต่ำมาก ผู้ป่วยโรคนี้ อาจเกิดภาวะแทรกซ้อน (ผลข้าง เคียง) จากปัญหากล้ามเนื้อการหายใจ และกล้ามเนื้อหัวใจ อ่อนแรง และหัวใจหยุดเต้น เป็นเหตุให้เสียชีวิตไ...
วันพุธที่ 18 เมษายน พ.ศ. 2561
โรคหืด หรือหอบหืด (asthma) ภาวะแทรกซ้อน ภูมิแพ้

โรคหอบหืด เมื่อปลายปีที่ผ่านมาหลายท่านคงได้ยินข่าวการเสียชีวิตของดาราหนุ่ม ออฟ - อภิชาติ พัวพิมล ที่เสียชีวิตอย่างกะทันหันด้วยโรคหอบหืด ที่เป็นมาตั้งแต่เด็กๆ นอกจากนี้ดาราตลก ‘ดี๋ ดอกมะดัน’ ยังคงนอนพักรักษาตัวในห้องไอซียู เนื่องมาจากถูกโรคหอบหืดกำเริบเล่นงานเช่นเดียวก...
วันเสาร์ที่ 14 เมษายน พ.ศ. 2561
โรคหัวใจและหลอดเลือด" ภาวะแทรกซ้อน "โรคเบาหวาน

ผู้ป่วยโรคเบาหวานมักจะมีปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือดเช่น ความดันโลหิตสูง ไขมันในเลือดสูงเป็นต้น คำแนะนำในการดูแลผู้ป่วยเบาหวานและโรคหัวใจมีดังน...
วันพุธที่ 11 เมษายน พ.ศ. 2561
โรคสะเก็ดเงิน (Psoriasis) เป็นโรคผิวหนังเรื้อรัง
โรคสะเก็ดเงิน (Psoriasis) เป็นโรคผิวหนังเรื้อรังที่เกิดจากการแบ่งตัวผิดปกติของเซลล์ผิวหนังอย่างรวดเร็วกว่าปกติโดยการกระตุ้นของสารเคมีจากเซลล์เม็ดเลือดขาวที่เรียกว...
วันจันทร์ที่ 9 เมษายน พ.ศ. 2561
โรคสะเก็ดเงิน (Psoriasis)

โรคสะเก็ดเงิน (Psoriasis) เป็นโรคที่มีการอักเสบเรื้อรังของผิวหนังอีกโรคหนึ่งที่มีผลต่อคุณภาพชีวิตของผู้ป่วย พบโรคนี้ได้ประมาณร้อยละ 1-2 ของประชา...
วันเสาร์ที่ 7 เมษายน พ.ศ. 2561
ภาวะแทรกซ้อนของโรคข้ออักเสบรูมาตอยด์

ภาวะแทรกซ้อนของโรคข้ออักเสบรูมาตอยด์
-การป่วยเป็นโรคข้ออักเสบรูมาตอยด์ อาจเพิ่มความเสี่ยงในการพัฒนาไปเป็นโรคต่าง ๆ ได้ ดังต่อไปน...
วันอังคารที่ 3 เมษายน พ.ศ. 2561
การรักษาโรคข้ออักเสบรูมาตอยด์

โรคข้ออักเสบรูมาตอยด์ยังไม่มีการรักษาที่หายขาดได้ แต่ปัจจุบันมีความเป็นไปได้ที่จะบรรเทาโรคให้ดีขึ้น หากเริ่มต้นการรักษาอย่างทันท่วงทีและรักษาด้วยยาปรับเปลี่ยนการดำเนินโ...
วันจันทร์ที่ 2 เมษายน พ.ศ. 2561
โรคข้อรูมาตอยด์ 2

ปัจจัยที่อาจเพิ่มความเสี่ยงของการเป็นโรคข้ออักเสบรูมาตอยด์ มีดังนี้
-เพศ เพศหญิงมีแนวโน้มที่เป็นข้ออักเสบรูมาตอยด์มากกว่าเพศช...
วันพฤหัสบดีที่ 29 มีนาคม พ.ศ. 2561
โรครูมาตอยด์ 1 Rheumatoid Arthritis

รูมาตอยด์ (Rheumatoid Arthritis) หรือโรคข้ออักเสบรูมาตอยด์ เป็นโรคที่มีการอักเสบของส่วนต่าง ๆ ในร่างกาย ไม่ใช่เพียงที่ข้อ เกิดจากระบบภูมิคุ้มกันในร่างกายทำงานผิดปกติและไปทำลายอวัยวะต่าง ๆ ในร่างกายตัวเอง ในผู้ป่วยบางรายพบว่ามีภาวะที่มีผลกระทบต่อระบบต่าง ๆ ในร่างกาย เช่น ผิวหนัง ดวงตา ปอด หัวใจ และหลอดเลื...
วันจันทร์ที่ 26 มีนาคม พ.ศ. 2561
กระตุ้นสมองหยุดสั่น ป้องกันล้ม รู้ทันพาร์กินสัน

โรคพาร์กินสันจัดอยู่ในกลุ่มพยาธิสภาพที่เรียกว่า “ความผิดปกติของระบบการเคลื่อนไหว” (Movement Disorders) เกิดจากความเสื่อมของเซลล์สมองส่วนที่ผลิตสารโดพาม...
วันอาทิตย์ที่ 25 มีนาคม พ.ศ. 2561
โรคพาร์กินสัน ไม่ใช่แค่อาการสั่น

ในปัจจุบันนี้ผู้สูงอายุและบุคคลทั่วไปมีความตื่นตัวและสนใจเกี่ยวกับโรคพาร์กินสันกันมากขึ้น เนื่องจากเมื่อเร็วๆ นี้มีบุคคลที่มีชื่อเสียงระดับโ...
วันอังคารที่ 20 มีนาคม พ.ศ. 2561
โรคพาร์กินสันมีผลข้างเคียงไหม? รุนแรงไหม?

ผลข้างเคียงจากโรคพาร์กินสัน เกิดจากอาการการสั่น เช่น การล้ม ปัญหาในการพูด การเคี้ยว การกลืน การปัสสาวะ การอุจจาระ ในเพศสัมพันธ์ และเกิดจากปัญหาด้านอารมณ์และจิตใจ ดังได้กล่าวแล้วในหัวข้ออาก...
วันจันทร์ที่ 19 มีนาคม พ.ศ. 2561
โรคพาร์กินสันมีอาการอย่างไร? (Resting tremor)

ลักษณะอาการที่สำคัญของโรคพาร์กินสัน คือ อาการแต่ละอาการจะค่อยๆปรากฏ เป็นแบบค่อยเป็นค่อยไป ไม่ได้เกิดขึ้นอย่างฉับพลันทันที เมื่อเวลาผ่านไปอาการจะรุนแรงมากขึ้นเรื่อยๆ ซึ่งแบ่งอาการออกได้เป...
วันเสาร์ที่ 17 มีนาคม พ.ศ. 2561
โรคพาร์กินสัน (Parkinson’s disease)

โรคพาร์กินสัน (Parkinson’s disease)
โรคพาร์กินสัน (Parkinson’s disease) หรือโรคสันนิบาต หรือโรคสั่นสันนิบาต คือโรคทางสมองที่เกิดจากเซลล์ประสาทในบางตำแหน่งเกิดมีการตายโดยไม่ทราบสาเหตุที่แน่ช...
วันพฤหัสบดีที่ 15 มีนาคม พ.ศ. 2561
โรคสะเก็ดเงินเป็นโรคผิวหนังที่ควรรู้
โรคสะเก็ดเงิน (Psoriasis) เป็นโรคผิวหนังเรื้อรังที่เกิดจากการแบ่งตัวผิดปกติของเซลล์ผิวหนังอย่างรวดเร็วกว่าปกติโดยการกระตุ้นของสารเคมีจากเซลล์เม็ดเลือดขาวที่เรียกว่า ลิมโฟไซต์ (Lymphocytes) ชนิดเซลล์ที (T-cell) ทำให้เกิดการอักเสบจนเกิดเป็นผื่นหนาขนาดใหญ่ มีลักษณะสีเงินและแดงที่ผิวหนังได้ทั่วร่างกาย โรคนี้สามารถเกิดได้ในคนทุกเพศทุกว...