วันอังคารที่ 27 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2561

โรคเกาต์เกิดได้อย่างไร? , โรคเกาต์มีปัจจัยเสี่ยงไหม?


โรคเกาต์ เป็นโรคข้ออักเสบ ที่พบบ่อย โรค 1 โดยเป็นการอักเสบชนิดไม่ติดเชื้อ เป็นโรคของผู้ใหญ่วัย 40 ปีขึ้นไปพบในหมู่ชายสูง กว่าในผู้หญิงประมาณ 3-4 เท่า โดยทั่วไปมักเกิดกับข้อเพียงข้อเดียวแต่ในบางครั้งอาจเกิดหลายข้อได้พร้อมๆกัน
โดยเกิดกับข้อไหนก็ได้ ที่พบบ่อยคือข้อเล็กๆ ข้อกระดูกฝ่าเท้า คอกระดูกฝ่ามือ แต่ที่พบบ่อยที่สุด คือ เกิดกับข้อกระดูกฝ่าเท้าด้านหัวแม่โป้ง

โรคเกาต์เกิดได้อย่างไร
- โรคเกาต์มีสาเหตุเกิดจาก มีกรดยูริคในเลือดสูง จนส่งผลให้เกิดการตกผลึกของกรดยูริคในข้อต่างๆ จึงเป็นผลให้ข้ออักเสบเกิดอาการบวม แดง ร้อน ปวด และเจ็บ เมื่อสัมผัสถูกต้อง

โรคเกาต์มีปัจจัยเสี่ยงมั้ย?
ปัจจัยเสี่ยงของโรคเกาต์ที่พบบ่อยได้แก่
- เพศ เพราะพบโรคเก๋าในผู้ชายได้สูงกว่าในผู้หญิง
- กินอาหารที่มีสาร พิวรีนสูงต่อเนื่องเป็นประจำ
- กินอาหารที่หมักด้วยยีสต์ "Yeast : เชื้อราที่หมักอาการและเครื่องดื่ม" เพราะเป็นสาเหตุให้มีกรดยูริคในเลือดสูง
- เครื่องดื่มแอลกอฮอล์โดยเฉพาะ เบียร์ เพราะแอลกอฮอล์ลดการขับกรดยูริคออกทางไต ทางปัสสาวะ กรดยูริคถึงข้างในเลือดสูงกว่าปกติ
- เป็นโรคเรื้อรังต่างๆเช่น โรคอ้วนโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคเหล่านี้มีความผิดปกติในการสันดาปสารต่างๆ จึงมักส่งผลให้มีกรดยูริคในเลือดสูง
- เป็นโรคต่อมไร้ท่อบางชนิดเพราะส่งผลให้มีกรดยูริคในเลือดสูงเช่นโรคต่อมไทรอยด์ทำงานต่ำ ภาวะขาดไทรอยด์ฮอร์โมน
- ผลข้างเคียงจากยาบางชนิด ส่งผลให้ไปขับกรดยูริคออกทางปัสสาวะน้อยลงเช่น ยาขับน้ำ
- โรคไตเพราะใจทำงาน ต่ำลง จึงขับกรดยูริคออกน้อยลง
- คนอ้วน โดยอาจสัมพันธ์กับภาวะดื้อต่อฮอร์โมนอินซูลิน ที่ส่งผลให้เกิดโรคอ้วน Insulin resistance
- อาจเกิดจากพันธุกรรมเพราะโรคไตได้สูงขึ้น ในครอบครัวที่เป็นโรคนี้


0 ความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น